อาชีพ SOUND ENGINEER
กับอาชีพ Sound Engineer อาชีพนี้คือ วิศวกร ควบคุมเสียง แล้ว ควบคุมอะไรล่ะ เสียงมันจะประกอบด้วย ความดัง ความทุ้มต่ำของเสียง ซึ่งนี่แหละ เราต้องดูแลคุณลักษณะของเสียงให้เป็นเสียงที่สมบูรณ์แบบที่สุด
ส่วนคำจำกัดความของเสียง เสียง เกิดจากการที่วัตถุสั่นสะเทือน ผ่านทางอากาศเข้าสู่หูเรา เราอาการสั่นสะเทือนนั้นว่า เสียง เสียงสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ 2 แบบ ได้แก่ เสียงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และ เสียงที่เกิดจากคนสร้างขึ้นมา อย่างเสียงพูด เสียงดนตรี Se ก็จะเป็นคนจัดการเกี่ยวกับเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้อยู่ในระดับที่พอดี ไม่เบาไป ไม่ดังไป สมมุติผมพูดเบาไปจะไม่ได้ยิน เขาก็จะปรับให้ดังขึ้น หรือดังไปก็จะปรับให้เบาลง
ส่วนคำจำกัดความของเสียง เสียง เกิดจากการที่วัตถุสั่นสะเทือน ผ่านทางอากาศเข้าสู่หูเรา เราอาการสั่นสะเทือนนั้นว่า เสียง เสียงสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ 2 แบบ ได้แก่ เสียงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และ เสียงที่เกิดจากคนสร้างขึ้นมา อย่างเสียงพูด เสียงดนตรี Se ก็จะเป็นคนจัดการเกี่ยวกับเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้อยู่ในระดับที่พอดี ไม่เบาไป ไม่ดังไป สมมุติผมพูดเบาไปจะไม่ได้ยิน เขาก็จะปรับให้ดังขึ้น หรือดังไปก็จะปรับให้เบาลง
หน้าที่การงานของ Sound Engineer
ย้อนหลังไปสมัยก่อนนั้น หลังจากที่มีการคิดระบบ แอมป์, ลำโพง, ไมค์ และ mixer หรืออะไรก็แล้วแต่ หน้าที่ของ Sound Engineer ก็เกิดขึ้น คือจัดการเรื่องของเสียงต่าง ๆ ให้คนสามารถรับฟังให้เกิดความสุนทรีในการฟัง จากนั้นก็มีการคิดค้นเรื่องระบบบันทึกเสียง ไม่ว่าจะเป็นแผ่นเสียง หรือเทปแม่เหล็ก ก็มีการพัฒนามาเรื่อย พอมาถึงจุดของการบันทึกเสียง หน้าที่ของ Sound Engineer ก็มีมากขึ้น คือนอกจากจะควบคุมเสียงแล้ว ยังต้องทำหน้าที่ในการบันทึกเสียง เพื่อให้ได้วัตถุที่สามารถนำมาฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นั่นคือหน้าที่คร่าว ๆ ความสำคัญของอาชีพนี้ ต้องบอกว่า สำคัญมากแต่คนมักจะมองข้ามไป ตลอดเวลา เพราะไม่ว่าการฟังหรือการบันทึกทุก ๆ อย่าง นั้นจะเกิดขึ้นจากความสามารถของ Sound Engineer ซึ่งตัว Sound Engineer เป็นผู้กำหนดให้เสียงดีหรือไม่ดี หากคนเก่ง ๆ นั้น เขาจะสามารถบันทึกเสียงให้ได้คุณภาพเสียงที่ดี ซึ่งไอ้เสียงที่ดีหรือเสียงที่ไม่ดีนั้น ก็ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ฟังด้วย ไม่ใช่เสียงดีคือดัง เสียงไม่ดีคือไม่ดัง อะไรทำนองนี้ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ ต้องผ่านการเรียนรู้ด้วย
ในสมัยนี้ มีคนหลายคนเริ่มเห็นถึงความสำคัญของอาชีพดังกล่าวมากขึ้น ซึ่งบทบาทหน้าที่ ของ Sound Engineer ในอดีตและปัจจุบันนั้น ไม่ได้แตกต่างกันเลย เพราะ ไม่ว่าจะในอดีต หรือในปัจจุบัน ต้องรับผิดชอบหน้าที่ให้ดีที่สุด เพียงแต่ สิ่งที่จะชี้ชัดให้เห็นถึง ความแตกต่างนั้น ก็คือเครื่องไม้เครื่องมือที่มันแตกต่าง กัน เท่านั้น เอง
เมื่อก่อนนี้อุปกรณ์ที่เกี่ยวองกับการทำงานทางด้านนี้ ค่อนข้างมีราคาแพง มาก ๆ จะทำอัลบั้มนึงต้องมีเงินไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาท แต่สมัยนี้ มีเงินเพียงไม่กี่แสนก็สามารถทำงานได้แล้ว เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์โปรแกรมดนตรี มีความสามารถในการแต่งเพลง มีไมล์ แค่นี้คุณก็สามารถทานได้ แต่ไม่ได้บอกว่าดี เพราะว่าจะไม่ได้มาตรฐาน เพราะบางคนอาจจะขาดความรู้ทางด้าน Sound Engineer ซึ่งการทำงานอย่างนี้มีทั้งข้อดี และข้อเสีย หมายถึง งานจะสามารถพัฒนาไปได้ดี เพราะเครื่องไม้เครื่องมือราคาไม่แพง เพียงแต่ข้อเสียคือคุณภาพของงานจะต่ำลง เพียงแต่หากใครที่อยากจะพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น โดยเฉพาะในเรื่อง Sound Quality ก็ต้องหาความรู้เพิ่มเติม ในส่วนที่ขาดหาย บางคนบอกว่า Sound Engineer ในสมัยนี้ ความสามารถนั้นด้อยกว่า สมัยก่อน ก็แล้วแต่การมองครับ ผมมองว่า ในสมัยนี้ Sound Engineer มากขึ้น แต่ ไม่ได้หมายความว่า ทุกคนนั้นมีความรู้ครบถ้วน”
ย้อนหลังไปสมัยก่อนนั้น หลังจากที่มีการคิดระบบ แอมป์, ลำโพง, ไมค์ และ mixer หรืออะไรก็แล้วแต่ หน้าที่ของ Sound Engineer ก็เกิดขึ้น คือจัดการเรื่องของเสียงต่าง ๆ ให้คนสามารถรับฟังให้เกิดความสุนทรีในการฟัง จากนั้นก็มีการคิดค้นเรื่องระบบบันทึกเสียง ไม่ว่าจะเป็นแผ่นเสียง หรือเทปแม่เหล็ก ก็มีการพัฒนามาเรื่อย พอมาถึงจุดของการบันทึกเสียง หน้าที่ของ Sound Engineer ก็มีมากขึ้น คือนอกจากจะควบคุมเสียงแล้ว ยังต้องทำหน้าที่ในการบันทึกเสียง เพื่อให้ได้วัตถุที่สามารถนำมาฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นั่นคือหน้าที่คร่าว ๆ ความสำคัญของอาชีพนี้ ต้องบอกว่า สำคัญมากแต่คนมักจะมองข้ามไป ตลอดเวลา เพราะไม่ว่าการฟังหรือการบันทึกทุก ๆ อย่าง นั้นจะเกิดขึ้นจากความสามารถของ Sound Engineer ซึ่งตัว Sound Engineer เป็นผู้กำหนดให้เสียงดีหรือไม่ดี หากคนเก่ง ๆ นั้น เขาจะสามารถบันทึกเสียงให้ได้คุณภาพเสียงที่ดี ซึ่งไอ้เสียงที่ดีหรือเสียงที่ไม่ดีนั้น ก็ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ฟังด้วย ไม่ใช่เสียงดีคือดัง เสียงไม่ดีคือไม่ดัง อะไรทำนองนี้ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ ต้องผ่านการเรียนรู้ด้วย
ในสมัยนี้ มีคนหลายคนเริ่มเห็นถึงความสำคัญของอาชีพดังกล่าวมากขึ้น ซึ่งบทบาทหน้าที่ ของ Sound Engineer ในอดีตและปัจจุบันนั้น ไม่ได้แตกต่างกันเลย เพราะ ไม่ว่าจะในอดีต หรือในปัจจุบัน ต้องรับผิดชอบหน้าที่ให้ดีที่สุด เพียงแต่ สิ่งที่จะชี้ชัดให้เห็นถึง ความแตกต่างนั้น ก็คือเครื่องไม้เครื่องมือที่มันแตกต่าง กัน เท่านั้น เอง
เมื่อก่อนนี้อุปกรณ์ที่เกี่ยวองกับการทำงานทางด้านนี้ ค่อนข้างมีราคาแพง มาก ๆ จะทำอัลบั้มนึงต้องมีเงินไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาท แต่สมัยนี้ มีเงินเพียงไม่กี่แสนก็สามารถทำงานได้แล้ว เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์โปรแกรมดนตรี มีความสามารถในการแต่งเพลง มีไมล์ แค่นี้คุณก็สามารถทานได้ แต่ไม่ได้บอกว่าดี เพราะว่าจะไม่ได้มาตรฐาน เพราะบางคนอาจจะขาดความรู้ทางด้าน Sound Engineer ซึ่งการทำงานอย่างนี้มีทั้งข้อดี และข้อเสีย หมายถึง งานจะสามารถพัฒนาไปได้ดี เพราะเครื่องไม้เครื่องมือราคาไม่แพง เพียงแต่ข้อเสียคือคุณภาพของงานจะต่ำลง เพียงแต่หากใครที่อยากจะพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น โดยเฉพาะในเรื่อง Sound Quality ก็ต้องหาความรู้เพิ่มเติม ในส่วนที่ขาดหาย บางคนบอกว่า Sound Engineer ในสมัยนี้ ความสามารถนั้นด้อยกว่า สมัยก่อน ก็แล้วแต่การมองครับ ผมมองว่า ในสมัยนี้ Sound Engineer มากขึ้น แต่ ไม่ได้หมายความว่า ทุกคนนั้นมีความรู้ครบถ้วน”
การที่จะให้ได้เสียงที่ดีออกมาขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยด้วยกัน แน่นอนครับอุปกรณ์ ที่เราใช้ อยู่นั้น มีทั้งดีและไม่ดี ซึ่งไม่ได้หมายความว่า ของคุณภาพที่ไม่ดีนั้น ไม่สามารถจะใช้งาน ได้เลย หากเรามีความรู้ทางด้านนี้ก็สามารถใช้งานให้มันได้คุณภาพสูงสุด ผมจะเริ่มจาก ไมค์ก่อน
ไมค์ มี 2 ลักษณะ มี Dynamic Mic และ Condenser Mic คุณลักษณะของ ไมค์ทั้ง 2 อย่างนี้ก็แตกต่างกัน อย่าง Dynamic Mic นั้นจะมีความสามารถในการทนต่อแรงอัด สูง เราจึงนิยมใช้ไมด์พวกนี้ในลักษณะงานทั่ว ๆ ไป และ Condenser Mic จะมีคุณลักษณะ ที่ละเอียดอ่อน ฉะนั้นการเลือกใช้ไมค์ต่าง ๆ นั้น ก็เป็นความรู้พื้นฐา นของการเป็น Sound Engineer
ซึ่งเมื่อเรามีความรู้พื้นฐานของไมค์แล้ว เราก็สามารถที่จะนำความรู้ที่ได้นี้มาใช้ในการ จัดวาง ไมค์ เพื่อการบันทึกเสียง เพราะการจัดวางต่าง ๆ นั้น มันจะส่งผลถึงเสียงที่ออกมา อย่าง เครื่องดนตรีแต่ละชนิดนั้น ไม่ว่าจะเป็นกลอง, กีตาร์ หรือแม้กระทั่ง เบส การจัดวางไมค์ เพื่อการบันทึกเสียง นั้น ก็มีความแตกต่างกัน ถึงแม้ว่า คุณจะจัดวางไมค์สำหรับกล้อง ก็ไม่มีสูตร ตายตัว มันสามารถปรับแต่งการจัดวาง เพื่อให้ได้มาซึ่งเสียงที่เราต้องการได้”
เวลาที่เราจะปรับเสียง สิ่งแรกที่เราต้องทำคือการปรับความทุ้มแหลม และ การปรับความดังเบาของเสียง ไอ้ตัวที่ปรับความดังของทุ้มแหลมเราเรียกว่า EQ อย่างเช่นผมพูดใกล้ไมค์เกินไป SE เขาก็จะปรับความถี่ให้มันต่ำลง เสียงผมก็จะฟังดูดีขึ้น หรือเสียงผมมีอาการทุ้มไป Sound Engineer ก็จะปรับความถี่เพิ่มขึ้น ส่วนการปรับระดับความดังเบาของเสียง ปกติเราจะใช้วิธีปรับ Volume ซึ่งจะมีเครื่องมือที่ปรับระดับความดังอัตโนมัติ เราเรียกว่า Compressor ซึ่งจะทำงานอัตโนมัติ ตามที่เรากำหนดไว้ ซึ่งวิธีการทำงานค่อนข้างจะซับซ้อน มีฟังค์ชั่นการใช้งานค่อนข้างเยอะ
Compressor ส่วนมากจะใช้ในการบันทึกเสียงเป็นหลัก โดยเราต้องการ Source ที่บันทึกลงไปให้ได้เสียงที่ดีที่สุด สิ่งที่สำคัญของ Sound Engineer คือเราต้องบันทึกเสียงลงไปให้ได้เสียงที่ดังที่สุดและแรงที่สุดโดยที่มันไม่แตก อย่างเราที่จะบันทึกเสียงนั้น เราจะให้ C ทำงานในระดับที่น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพราะ Compressor นั้นสามารถเปลี่ยนรูปแบบของเสียงได้ ทำให้คาแลคเตอร์ ของเสียงนั้นเปลี่ยนแปลงได้ หากบันทึกไปแล้ว รูปแบบของเสียงนั้นเปลี่ยนไป เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่เราจะใช้ Compressor ในขั้นตอนของการ MIX เสียง ฉะนั้น อาจจะสรุปได้ว่า เราจะต้องใช้ EQ และ Compressor ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้”
ไมค์ มี 2 ลักษณะ มี Dynamic Mic และ Condenser Mic คุณลักษณะของ ไมค์ทั้ง 2 อย่างนี้ก็แตกต่างกัน อย่าง Dynamic Mic นั้นจะมีความสามารถในการทนต่อแรงอัด สูง เราจึงนิยมใช้ไมด์พวกนี้ในลักษณะงานทั่ว ๆ ไป และ Condenser Mic จะมีคุณลักษณะ ที่ละเอียดอ่อน ฉะนั้นการเลือกใช้ไมค์ต่าง ๆ นั้น ก็เป็นความรู้พื้นฐา นของการเป็น Sound Engineer
ซึ่งเมื่อเรามีความรู้พื้นฐานของไมค์แล้ว เราก็สามารถที่จะนำความรู้ที่ได้นี้มาใช้ในการ จัดวาง ไมค์ เพื่อการบันทึกเสียง เพราะการจัดวางต่าง ๆ นั้น มันจะส่งผลถึงเสียงที่ออกมา อย่าง เครื่องดนตรีแต่ละชนิดนั้น ไม่ว่าจะเป็นกลอง, กีตาร์ หรือแม้กระทั่ง เบส การจัดวางไมค์ เพื่อการบันทึกเสียง นั้น ก็มีความแตกต่างกัน ถึงแม้ว่า คุณจะจัดวางไมค์สำหรับกล้อง ก็ไม่มีสูตร ตายตัว มันสามารถปรับแต่งการจัดวาง เพื่อให้ได้มาซึ่งเสียงที่เราต้องการได้”
เวลาที่เราจะปรับเสียง สิ่งแรกที่เราต้องทำคือการปรับความทุ้มแหลม และ การปรับความดังเบาของเสียง ไอ้ตัวที่ปรับความดังของทุ้มแหลมเราเรียกว่า EQ อย่างเช่นผมพูดใกล้ไมค์เกินไป SE เขาก็จะปรับความถี่ให้มันต่ำลง เสียงผมก็จะฟังดูดีขึ้น หรือเสียงผมมีอาการทุ้มไป Sound Engineer ก็จะปรับความถี่เพิ่มขึ้น ส่วนการปรับระดับความดังเบาของเสียง ปกติเราจะใช้วิธีปรับ Volume ซึ่งจะมีเครื่องมือที่ปรับระดับความดังอัตโนมัติ เราเรียกว่า Compressor ซึ่งจะทำงานอัตโนมัติ ตามที่เรากำหนดไว้ ซึ่งวิธีการทำงานค่อนข้างจะซับซ้อน มีฟังค์ชั่นการใช้งานค่อนข้างเยอะ
Compressor ส่วนมากจะใช้ในการบันทึกเสียงเป็นหลัก โดยเราต้องการ Source ที่บันทึกลงไปให้ได้เสียงที่ดีที่สุด สิ่งที่สำคัญของ Sound Engineer คือเราต้องบันทึกเสียงลงไปให้ได้เสียงที่ดังที่สุดและแรงที่สุดโดยที่มันไม่แตก อย่างเราที่จะบันทึกเสียงนั้น เราจะให้ C ทำงานในระดับที่น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพราะ Compressor นั้นสามารถเปลี่ยนรูปแบบของเสียงได้ ทำให้คาแลคเตอร์ ของเสียงนั้นเปลี่ยนแปลงได้ หากบันทึกไปแล้ว รูปแบบของเสียงนั้นเปลี่ยนไป เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่เราจะใช้ Compressor ในขั้นตอนของการ MIX เสียง ฉะนั้น อาจจะสรุปได้ว่า เราจะต้องใช้ EQ และ Compressor ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้”
ูการบันทึกเสียงกันสด ๆ
ขั้นตอนการอัดกลอง ขั้นแรก ต้องเช็คทีล่ะไมค์กลองดูครับว่า Signal เข้ามาหรือเปล่า ต้องให้สัญญาณที่เข้ามาอยู่ใน Unity Gain จึงจะยอมรับได้ เริ่มจากกระเดื่องก่อน จากนั้นก็ไล่มาเรื่อย ๆ เป็น สแนร์, ทอม และ ทั้งหมด ทีละชิ้น เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยเราลงมืออัดครับ
เมื่ออัดเรียบร้อยแล้ว เรามาดูกันว่า เสียง แต่ละเสียงที่เข้ามาเป็นอย่างไงบ้าง ตรวจดูเสียงต่าง ๆ ที่เข้ามาว่ามีความสมบูรณ์ขนาดไหน เมื่อ Check เสียงต่าง ๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เราจะรู้ว่าเสียงไหนที่ต้องการการปรับแต่ง เราก็ลงมือปรับแต่งเสียงที่บันทึกเข้ามาให้เป็นเสียงที่สมบูรณ์ที่สุดก่อนที่จะนำมา MIXED ซึ่งหัวใจสำคัญของการบันทึกเสียง เหมือนกับที่พี่ติ๊ดพูดไว้เมื่อสักครู่ว่า การที่เราบันทึกเสียงนั้นต้องได้คุณภาพเสียงที่ดี ไม่แตก เพราะเมื่อมันแตก หรือเสียหายมานั้นมันทำให้เราไม่สามารถแก้ไขให้มันดีขึ้นได้ แต่เราต้องบันทึกสิ่งที่ดีที่สุดมาเพื่อการปรุงแต่งให้ได้เสียงที่ดีที่สุด หลังจากที่เราอัดกลองไปแล้ว ลองมาดูวิธีการอัดเสียงกีตาร์ดูบ้าง การจ่อไมค์กับหน้าตู้ของ แอมป์ หากเราจ่อไมค์ที่กลางดอกลำโพง เราจะได้เสียงแหลมและเสียงทุ้มที่ค่อนข้างกัน แต่เราต้องการเสียงทุ้มมากกว่า เราเลยจ่อไมค์ที่ข้าง ๆ ดอก เมื่อเรามองดูที่หน้าจอมอนิเตอร์ เราจะเห็นว่าเสียงที่เข้ามานั้นจะมี 2 line ซึ่งจะแบ่งออกเป็น จาก ไมค์และ จาก DI BOX เอาล่ะครับเราจะเปิดเพลงแล้วให้คุณเต๋า เล่นและเราจะบันทึกกัน มาดูกันครับ สิ่งสำคัญของการอัดเสียง เราต้องทำการซ้อมอัดก่อนนะครับ เมื่อซ้อมเป็นที่เรียบร้อยแล้วเราค่อยอัดจริง เพราะการทำงานอย่างนี้มันจะทำให้เราทำงานได้ไวขึ้น” หลังจากที่พวกเราได้รับรู้วิธีการบันทึกเสียงแล้วนะครับ ก็จะมาถึงขั้นตอนการ MIXED DOWN สังเกตได้ว่าตอนที่เราฟัง DEMO นั้น เสียงมันค่อนข้างน่าเกลียด มันไม่ค่อยมีวิญาณเท่าไหร่ แต่ตอนที่เราอัดเสียงเครื่องดนตรีจริงเท่าไป อารมณ์มันเปลี่ยนไปจริง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกลอง หรือ กีตาร์ที่อัดเสียงเข้าไปเมื่อสักครู่ สิ่งที่ผมจะบอกต่อไปนี้เป็นแค่วีธีคิดเท่านั้นนะครับ วิธีการ MIXED DOWN นั้นหลักการคร่าว ๆ คือ เราต้อง Balance เสียงเครื่องดนตรีทุกชิ้นที่ปรากฏอยู่ในเพลง อย่างการอัดเสียงกลอง เราจะต้องใช้ไมค์อย่างน้อย ต้อง 10 กว่าตัว นอกจากที่เราจะเอาไมค์มาจ่อที่กลองแล้ว เราต้องเอา ไมค์มาวางตามจุดต่าง ๆ ของห้อง เพื่อเก็บเสียงอีกด้วย แต่ที่เราสาธิตกันนี้เรามีไมค์แค่ 6 ตัว นะครับ ฉะนั้นเราก็มาทำสิ่งต่าง ๆ ที่เราได้มานั้น ให้เป็นเสียงที่ดีที่สุด เมื่อเรานำเสียงที่ได้รับมาทั้งหมด มา Balance เสียงกลอง ไม่ว่าจะเป็นเสียง สแนร์, ทอม, กระเดื่อง หรือ Over Head มาปรุงแต่งให้เป็นเสียงที่กลมกลืนที่สุด จากนั้นเราก็มาดูการอัดเสียงกีตาร์ ที่ผ่านจากการจ่อไมค์ และจาก DI BOX มา Balance กัน แล้วหลังจากนั้นเราก็ทำตามขั้นตอนนี้ไปทุก เครื่องดนตรี ที่มีการอัดเสียงในเพลง ๆ นั้น หัวใจสำคัญของการ Mixed เสียงคือการใช้ Compressor, EQ, Reverse, Chorus และ Delay ซึ่งแต่ละตัวทำหน้าที่ที่แตกต่างกันอาทิ Compressor จะทำหน้าที่ปรับแต่งระดับความแตกต่าง (Dynamic Range) ให้น้อยที่สุด ทำให้เสียงได้ยินชัดขึ้น เราจะใช้กับอุปกรณ์ที่มี (Dynamic Range) มากอย่าง กลอง หรือ เบส และเสียงร้อง เพราะเสียงร้องเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในเพลง ต้องให้ได้ยินชัดทุกเสียงที่ออกมา ส่วนวิธีปรับ EQ คือ หากเสียงดีอยู่แล้วไม่ต้องปรับ แล้วก็การ คัท ก่อน บู๊ช วิธีการก็คือฟังดูว่ามีเสียง อะไรที่ขาดหรือเกิน และหาความถี่ที่ใกล้เคียงกันแล้วหลีกเลี่ยงให้แก่ตัวที่สำคัญกว่าในช่วงเวลานั้น ส่วน ตัวอื่น ๆ นั้นคือตัวเพิ่มสีสันให้เสียงนั้น ๆ ให้มีความพิเศษไปกว่าธรรมดา อย่างบางครั้งเราอยากได้อะไร ที่พิสดาร เราก็เติม effect หรือ Reverse, Chorus และ Delay เข้าไป เราก็จะได้เสียงแปลก ๆ ที่เราต้องการออกมา
ขั้นตอนการอัดกลอง ขั้นแรก ต้องเช็คทีล่ะไมค์กลองดูครับว่า Signal เข้ามาหรือเปล่า ต้องให้สัญญาณที่เข้ามาอยู่ใน Unity Gain จึงจะยอมรับได้ เริ่มจากกระเดื่องก่อน จากนั้นก็ไล่มาเรื่อย ๆ เป็น สแนร์, ทอม และ ทั้งหมด ทีละชิ้น เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยเราลงมืออัดครับ
เมื่ออัดเรียบร้อยแล้ว เรามาดูกันว่า เสียง แต่ละเสียงที่เข้ามาเป็นอย่างไงบ้าง ตรวจดูเสียงต่าง ๆ ที่เข้ามาว่ามีความสมบูรณ์ขนาดไหน เมื่อ Check เสียงต่าง ๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เราจะรู้ว่าเสียงไหนที่ต้องการการปรับแต่ง เราก็ลงมือปรับแต่งเสียงที่บันทึกเข้ามาให้เป็นเสียงที่สมบูรณ์ที่สุดก่อนที่จะนำมา MIXED ซึ่งหัวใจสำคัญของการบันทึกเสียง เหมือนกับที่พี่ติ๊ดพูดไว้เมื่อสักครู่ว่า การที่เราบันทึกเสียงนั้นต้องได้คุณภาพเสียงที่ดี ไม่แตก เพราะเมื่อมันแตก หรือเสียหายมานั้นมันทำให้เราไม่สามารถแก้ไขให้มันดีขึ้นได้ แต่เราต้องบันทึกสิ่งที่ดีที่สุดมาเพื่อการปรุงแต่งให้ได้เสียงที่ดีที่สุด หลังจากที่เราอัดกลองไปแล้ว ลองมาดูวิธีการอัดเสียงกีตาร์ดูบ้าง การจ่อไมค์กับหน้าตู้ของ แอมป์ หากเราจ่อไมค์ที่กลางดอกลำโพง เราจะได้เสียงแหลมและเสียงทุ้มที่ค่อนข้างกัน แต่เราต้องการเสียงทุ้มมากกว่า เราเลยจ่อไมค์ที่ข้าง ๆ ดอก เมื่อเรามองดูที่หน้าจอมอนิเตอร์ เราจะเห็นว่าเสียงที่เข้ามานั้นจะมี 2 line ซึ่งจะแบ่งออกเป็น จาก ไมค์และ จาก DI BOX เอาล่ะครับเราจะเปิดเพลงแล้วให้คุณเต๋า เล่นและเราจะบันทึกกัน มาดูกันครับ สิ่งสำคัญของการอัดเสียง เราต้องทำการซ้อมอัดก่อนนะครับ เมื่อซ้อมเป็นที่เรียบร้อยแล้วเราค่อยอัดจริง เพราะการทำงานอย่างนี้มันจะทำให้เราทำงานได้ไวขึ้น” หลังจากที่พวกเราได้รับรู้วิธีการบันทึกเสียงแล้วนะครับ ก็จะมาถึงขั้นตอนการ MIXED DOWN สังเกตได้ว่าตอนที่เราฟัง DEMO นั้น เสียงมันค่อนข้างน่าเกลียด มันไม่ค่อยมีวิญาณเท่าไหร่ แต่ตอนที่เราอัดเสียงเครื่องดนตรีจริงเท่าไป อารมณ์มันเปลี่ยนไปจริง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกลอง หรือ กีตาร์ที่อัดเสียงเข้าไปเมื่อสักครู่ สิ่งที่ผมจะบอกต่อไปนี้เป็นแค่วีธีคิดเท่านั้นนะครับ วิธีการ MIXED DOWN นั้นหลักการคร่าว ๆ คือ เราต้อง Balance เสียงเครื่องดนตรีทุกชิ้นที่ปรากฏอยู่ในเพลง อย่างการอัดเสียงกลอง เราจะต้องใช้ไมค์อย่างน้อย ต้อง 10 กว่าตัว นอกจากที่เราจะเอาไมค์มาจ่อที่กลองแล้ว เราต้องเอา ไมค์มาวางตามจุดต่าง ๆ ของห้อง เพื่อเก็บเสียงอีกด้วย แต่ที่เราสาธิตกันนี้เรามีไมค์แค่ 6 ตัว นะครับ ฉะนั้นเราก็มาทำสิ่งต่าง ๆ ที่เราได้มานั้น ให้เป็นเสียงที่ดีที่สุด เมื่อเรานำเสียงที่ได้รับมาทั้งหมด มา Balance เสียงกลอง ไม่ว่าจะเป็นเสียง สแนร์, ทอม, กระเดื่อง หรือ Over Head มาปรุงแต่งให้เป็นเสียงที่กลมกลืนที่สุด จากนั้นเราก็มาดูการอัดเสียงกีตาร์ ที่ผ่านจากการจ่อไมค์ และจาก DI BOX มา Balance กัน แล้วหลังจากนั้นเราก็ทำตามขั้นตอนนี้ไปทุก เครื่องดนตรี ที่มีการอัดเสียงในเพลง ๆ นั้น หัวใจสำคัญของการ Mixed เสียงคือการใช้ Compressor, EQ, Reverse, Chorus และ Delay ซึ่งแต่ละตัวทำหน้าที่ที่แตกต่างกันอาทิ Compressor จะทำหน้าที่ปรับแต่งระดับความแตกต่าง (Dynamic Range) ให้น้อยที่สุด ทำให้เสียงได้ยินชัดขึ้น เราจะใช้กับอุปกรณ์ที่มี (Dynamic Range) มากอย่าง กลอง หรือ เบส และเสียงร้อง เพราะเสียงร้องเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในเพลง ต้องให้ได้ยินชัดทุกเสียงที่ออกมา ส่วนวิธีปรับ EQ คือ หากเสียงดีอยู่แล้วไม่ต้องปรับ แล้วก็การ คัท ก่อน บู๊ช วิธีการก็คือฟังดูว่ามีเสียง อะไรที่ขาดหรือเกิน และหาความถี่ที่ใกล้เคียงกันแล้วหลีกเลี่ยงให้แก่ตัวที่สำคัญกว่าในช่วงเวลานั้น ส่วน ตัวอื่น ๆ นั้นคือตัวเพิ่มสีสันให้เสียงนั้น ๆ ให้มีความพิเศษไปกว่าธรรมดา อย่างบางครั้งเราอยากได้อะไร ที่พิสดาร เราก็เติม effect หรือ Reverse, Chorus และ Delay เข้าไป เราก็จะได้เสียงแปลก ๆ ที่เราต้องการออกมา
เมื่อจบจากการทำงานของ Studio Sound Engineer ก็มาเข้าสู่การทำงานของ Live Sound Engineer ซึ่งอาชีพนี้ก็เป็นวิศวกรเสียง ที่ทำงานภาคสนาม
Live Sound Engineer คือผู้ที่ทำการจัดการ เสียงสำหรับการแสดงสด ให้ได้เสียงที่ดีที่สุด แต่ต้องคิดเสมอว่า เราทำงานให้คนฟังในจำนวนมหาศาล ซึ่งแต่ละคนมีความชื่นชอบไม่เท่ากัน เราต้องปรับแต่งให้ความชื่นชอบนั้นเฉลี่ย ๆ ให้เท่ากัน ซึ่งงาน Live Sound Engineer ที่มักจะเจอกันบ่อย ๆ นั่นก็คือ การแสดงสด และที่ยากที่สุดคือการทำงานถ่ายทอดสด
เพราะการทำงานถ่ายทอดสดนั้นคือเราต้องคุมคุณภาพเสียงให้ดีที่สุด เพื่อการถ่ายทอดสดให้ได้ทัดเทียม กับการชมในสถานที่จริง ซึ่งปัญหาส่วนใหญ่ที่เรามักจะเจอกันบ่อย ๆ นั่นคือการ หอน หรือที่เราเรียกกันว่า Feed Back ฉะนั้นเราต้องทำให้เกิดปัญหานี้ให้น้อยที่สุด ผมปฏิเสธไม่ได้ครับว่า มันจะไม่เกิดขึ้นแน่นอน ไม่ว่าใครก็เจอครับ เพียงแต่ว่าเราต้องควบคุมมันให้ดีที่สุด และนอกจากนี้ Live Sound Engineer ก็คือคนที่ดูแลเรื่องเสียงให้ศิลปิน และจะต้องประสานงานระหว่าง ศิลปิน กับเครื่องที่เราเจอ ซึ่งบางเครื่องเป็นเครื่องที่ไม่ดี หน้าที่ของเราต้องทำให้มันดีที่สุด เท่าที่มันจะทำได้ และที่สำคัญเฉพาะงานคอนเสิร์ต เราต้องทำให้เสียงที่เกิดขึ้นนั้น ต้องใกล้เคียงกับเสียงเพลงที่เปิดจากอัลบั้ม จึงขอแนะนำให้มีติดตัวครับ
ไม่ว่าจะเป็น เฮดโฟน และ เอ๊ฟเฟค รวมถึงคุณต้องเป็นคนที่ เตรียมพร้อม มั่นคง ไม่โลเล และต้องมีวิจารณญาณในการตัดสินใจที่ดีที่สุด เพราะปัญหาเฉพาะหน้าเกิดขึ้นมากมาย ต้องแก้ไขมันให้ได้ เพราะโชว์หนึ่งเดินไป แล้วเกิดปัญหาขึ้น เราควรที่จะแก้ไขปัญหานั้นให้ผ่านไปให้ได้ การทำงานของ Live Sound Engineer นั้นคร่าว ๆ ก็คงต้องเริ่มจากการเช็ค Line ก่อน เมื่อ เรียบร้อยแล้ว เราก็มาดูที่ EQ โดยที่เราจะปรับคร่าว ๆ เป็นสำคัญ ซึ่งเท่าที่ผมเคยร่วมงานกับชาวต่างชาติ Live Sound Engineer เขาจะไม่ค่อยแตะต้อง EQ เท่าไหร่นัก เพราะเขาให้เหตุผลว่า การที่ทำให้ Flat นั้นฟังได้ดี จะเป็นการที่ดีที่สุด แต่สิ่งแรกที่เราต้องทำคือ การตรวจดูเครื่องไม้เครื่องมือที่เขาจัดให้ก่อน แล้วหลังจากนั้นเราก็มาประเมินอุปกรณ์ทั้งหมด ที่สำคัญครับปัญหาคือ อาชีพของ Live Sound Engineer นั่นคือทุกอย่างที่เป็นปัญหา นั่นคือการที่ต้องแก้ปัญหาเหล่านั้นให้ลุล่วงผ่านไปด้วยดี” หลังจากที่อธิบายคร่าว ๆ เกี่ยวกับ Live Sound Engineer แล้ว ก็มีการโชว์ การ Sound Check ให้ดูกันสด ๆ“ครับขั้นแรก ก็ต้องตรวจเช็คถีงตำแหน่งของผู้เล่น แล้วให้เขา Sound Check บนเวทีก่อน เมื่อเช็ค มอนิเตอร์บนเวทีเรียบร้อยแล้ว เราก็จะกลับไปอยู่ที่ เฮ้าส์ เพื่อทำการ เช็ค Line ที่สำคัญ Channel กับ Line ต้องตรงกัน เมื่อพร้อมแล้วก็ลุยได้เลย เมื่อ Sound Check เรียบร้อยแล้ว เราก็จะถามไปบน เวทีว่า ต้องการอะไรเพิ่มเติมหรือเปล่า เมื่อครบทุกจุด แล้ว เราก็ปรับแต่งให้ได้ตามความต้องการ เมื่อเรียบร้อยแล้วเราก็ Lock ทุกอย่างตามที่ต้องการไว้ หลังจากเมื่อทุกอย่างเรียบร้อย เราก็จะ Balance เสียงที่ออกมา”
Live Sound Engineer คือผู้ที่ทำการจัดการ เสียงสำหรับการแสดงสด ให้ได้เสียงที่ดีที่สุด แต่ต้องคิดเสมอว่า เราทำงานให้คนฟังในจำนวนมหาศาล ซึ่งแต่ละคนมีความชื่นชอบไม่เท่ากัน เราต้องปรับแต่งให้ความชื่นชอบนั้นเฉลี่ย ๆ ให้เท่ากัน ซึ่งงาน Live Sound Engineer ที่มักจะเจอกันบ่อย ๆ นั่นก็คือ การแสดงสด และที่ยากที่สุดคือการทำงานถ่ายทอดสด
เพราะการทำงานถ่ายทอดสดนั้นคือเราต้องคุมคุณภาพเสียงให้ดีที่สุด เพื่อการถ่ายทอดสดให้ได้ทัดเทียม กับการชมในสถานที่จริง ซึ่งปัญหาส่วนใหญ่ที่เรามักจะเจอกันบ่อย ๆ นั่นคือการ หอน หรือที่เราเรียกกันว่า Feed Back ฉะนั้นเราต้องทำให้เกิดปัญหานี้ให้น้อยที่สุด ผมปฏิเสธไม่ได้ครับว่า มันจะไม่เกิดขึ้นแน่นอน ไม่ว่าใครก็เจอครับ เพียงแต่ว่าเราต้องควบคุมมันให้ดีที่สุด และนอกจากนี้ Live Sound Engineer ก็คือคนที่ดูแลเรื่องเสียงให้ศิลปิน และจะต้องประสานงานระหว่าง ศิลปิน กับเครื่องที่เราเจอ ซึ่งบางเครื่องเป็นเครื่องที่ไม่ดี หน้าที่ของเราต้องทำให้มันดีที่สุด เท่าที่มันจะทำได้ และที่สำคัญเฉพาะงานคอนเสิร์ต เราต้องทำให้เสียงที่เกิดขึ้นนั้น ต้องใกล้เคียงกับเสียงเพลงที่เปิดจากอัลบั้ม จึงขอแนะนำให้มีติดตัวครับ
ไม่ว่าจะเป็น เฮดโฟน และ เอ๊ฟเฟค รวมถึงคุณต้องเป็นคนที่ เตรียมพร้อม มั่นคง ไม่โลเล และต้องมีวิจารณญาณในการตัดสินใจที่ดีที่สุด เพราะปัญหาเฉพาะหน้าเกิดขึ้นมากมาย ต้องแก้ไขมันให้ได้ เพราะโชว์หนึ่งเดินไป แล้วเกิดปัญหาขึ้น เราควรที่จะแก้ไขปัญหานั้นให้ผ่านไปให้ได้ การทำงานของ Live Sound Engineer นั้นคร่าว ๆ ก็คงต้องเริ่มจากการเช็ค Line ก่อน เมื่อ เรียบร้อยแล้ว เราก็มาดูที่ EQ โดยที่เราจะปรับคร่าว ๆ เป็นสำคัญ ซึ่งเท่าที่ผมเคยร่วมงานกับชาวต่างชาติ Live Sound Engineer เขาจะไม่ค่อยแตะต้อง EQ เท่าไหร่นัก เพราะเขาให้เหตุผลว่า การที่ทำให้ Flat นั้นฟังได้ดี จะเป็นการที่ดีที่สุด แต่สิ่งแรกที่เราต้องทำคือ การตรวจดูเครื่องไม้เครื่องมือที่เขาจัดให้ก่อน แล้วหลังจากนั้นเราก็มาประเมินอุปกรณ์ทั้งหมด ที่สำคัญครับปัญหาคือ อาชีพของ Live Sound Engineer นั่นคือทุกอย่างที่เป็นปัญหา นั่นคือการที่ต้องแก้ปัญหาเหล่านั้นให้ลุล่วงผ่านไปด้วยดี” หลังจากที่อธิบายคร่าว ๆ เกี่ยวกับ Live Sound Engineer แล้ว ก็มีการโชว์ การ Sound Check ให้ดูกันสด ๆ“ครับขั้นแรก ก็ต้องตรวจเช็คถีงตำแหน่งของผู้เล่น แล้วให้เขา Sound Check บนเวทีก่อน เมื่อเช็ค มอนิเตอร์บนเวทีเรียบร้อยแล้ว เราก็จะกลับไปอยู่ที่ เฮ้าส์ เพื่อทำการ เช็ค Line ที่สำคัญ Channel กับ Line ต้องตรงกัน เมื่อพร้อมแล้วก็ลุยได้เลย เมื่อ Sound Check เรียบร้อยแล้ว เราก็จะถามไปบน เวทีว่า ต้องการอะไรเพิ่มเติมหรือเปล่า เมื่อครบทุกจุด แล้ว เราก็ปรับแต่งให้ได้ตามความต้องการ เมื่อเรียบร้อยแล้วเราก็ Lock ทุกอย่างตามที่ต้องการไว้ หลังจากเมื่อทุกอย่างเรียบร้อย เราก็จะ Balance เสียงที่ออกมา”
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น